ประวัติและความเป็นมาของโรงพยาบาล

HOSPITAL HISTORY
ประวัติโรงพยาบาล
ปี
เหตุการณ์
พ.ศ. 2489
เริ่มก่อตั้งเป็นสุขศาลา
พ.ศ. 2519
ยกฐานะเป็นโรงพยาบาล 10 เตียง ในส่วนของอาคารประกอบด้วย อาคารที่ทำงานชั้นเดียว 1 หลัง
พ.ศ. 2523
ประชาชนอำเภออุทุมพรพิสัยร่วมใจกันบริจาคสร้างตึกประชาบำรุง และ คุณสงวน จิริวิภากร บริจาคสร้าง ตึกเอ็กซ์เรย์ [X-Ray]
พ.ศ. 2525
ได้รับเงินบริจาคจากชาวอุทุมพรพิสัยสร้าง ตึกสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี
พ.ศ. 2527
คุณสงวน จิริวิภากร ได้บริจาคเงินต่อเติมห้องเวชระเบียนและห้องบัตรที่ตึกผู้ป่วยนอก [OPD] เดิม (ปัจจุบันคือ ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน)
พ.ศ. 2530
หลวงปู่เครื่อง สุภัทโท ได้รวบรวมเงินจากความศรัทธาของศิษยานุศิษย์ ก่อสร้าง ตึกผู้ป่วยใน 2 ชั้น ขนาด 60 เตียง พร้อมห้องแยกโรค และ ห้องพิเศษ 10 ห้อง รวมเงินบริจาคเป็นเงินประมาณ 5,000,000 บาท
พ.ศ. 2531
ยกระดับโรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง
พ.ศ. 2532
อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ นายธวัชชัย โพธิสุนทร ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการบริการ จึงได้บริจาคเครื่องมือวิเคราะห์สารเคมีในเลือด จำนวน 1 เครื่อง มูลค่า 200,000 บาท ให้แก่โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย
พ.ศ. 2533
คุณอาคม ไตรบัญญัติกุล ได้บริจาคงบประมาณสร้างตึกพิเศษ 10 ห้อง รวมเป็นเงินประมาณ 2,000,000 บาท
พ.ศ. 2534
ได้รับการยกระดับเป็นโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง และได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณในการสร้างตึกผู้ป่วยนอก [OPD] 1 หลัง
พ.ศ. 2535
คุณสงวน จิริวิภากร ได้บริจาคสร้างทางเชื่อมระหว่างตึกผู้ป่วยนอก และ ตึกหลวงปู่เครื่อง เป็นจำนวนเงิน 100,000 บาท และคุณไต้เล้ง รุ่งวิวัฒน์อนันต์ บริจาคเงิน 100,000 บาท เพื่อซื้อเครื่องช่วยหายใจ
พ.ศ. 2540
พ่อค้าคหบดีในอำเภออุทุมพรพิสัย ร่วมบริจาคเงินปรับปรุงห้องพิเศษและซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ รวมเป็นเงินประมาณ 700,000 บาท
พ.ศ. 2541
ได้รับการยกระดับเป็นโรงพยาบาล 90 เตียง
พ.ศ. 2546
ผ่านการรับรองคุณภาพครั้งแรกตามกระบวนการ Hospital Accreditation : HA จาก พรพ. เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2546
พ.ศ. 2547
เข้าร่วมโครงการ เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงพยาบาล HA - HPH กับ พรพ.
พ.ศ. 2550
ผ่านการรับรองคุณภาพครั้งที่ 2 ตามกระบวนการ Hospital Accreditation : HA จาก พรพ.
พ.ศ. 2555
ผ่านการรับรองคุณภาพครั้งที่ 3 ตามกระบวนการ Hospital Accreditation : HA จาก พรพ. และสร้างตึกผู้ป่วยนอก [OPD] 3 ชั้น
พ.ศ. 2558
ผ่านการรับรองคุณภาพครั้งที่ 4 ตามกระบวนการ Hospital Accreditation : HA จาก พรพ.
พ.ศ. 2559
สร้างตึกผู้ป่วยใน [IPD] 5 ชั้น , ปรับปรุงตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน , ปรับปรุงห้องคลอด [LR] , ปรับปรุงห้องผ่าตัดฯ [OR]
พ.ศ. 2561
ทำเนียบผู้อำนวยการโรงพยาบาล

 

 

ทำเนียบผู้อำนวยการโรงพยาบาล

 


พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน
[ ขนาดโรงพยาบาล 90 และ 120 เตียง ]
น.พ.พงศนาถ หาญเจริญพิพัฒน์

พ.ศ. 2547 - 2564
[ ขนาดโรงพยาบาล 90 และ 120 เตียง ]
น.พ.อัครเดช บุญเย็น

พ.ศ. 2547 - 2564
[ ขนาดโรงพยาบาล 90 และ 120 เตียง ]
น.พ. ทนง วีระแสงพงษ์

พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2546
[ ขนาดโรงพยาบาล 90 เตียง ]
น.พ. สมพงษ์ จรุงจิตตานุสนธ์

พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2533
[ ขนาดโรงพยาบาล 30 เตียง ]
น.พ. บัณฑิต จึงสมาน

พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2530
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
น.พ. บัณฑิต จึงสมาน

พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2525
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
น.พ. ขจรศักดิ์ จินตานนท์

พ.ศ. 2523
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
พ.ญ. รุจิรา มังคละศิริ

พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2522
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
น.พ. รังสรรค์ วรวงศ์

พ.ศ. 2520
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล

พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2519
[ ขนาดโรงพยาบาล 10 เตียง ]
น.พ. รังสรรค์ วรวงศ์

พ.ศ. 2512
[ สถานีอนามัย ชั้น 1 ]
น.พ. ไสว เมืองไทย

ข้อมูลพื้นฐานของโรงพยาบาล

HOSPITAL PROFILES
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อองค์กร
ภาษาไทย : โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย
ภาษาอังกฤษ : UTHUMPHONPHISAI HOSPITAL
ประเภท / ระดับ ขององค์กร
ประเภท : โรงพยาบาลชุมชน
ระดับ : ทุติยภูมิ M2
เจ้าของ / ต้นสังกัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ กรมสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
จำนวนเตียง
จำนวนที่ขออนุญาต : 120 เตียง
จำนวนที่ให้บริการจริง : 151 เตียง
ประเภทเตียง
เตียงผู้ป่วยใน : 108 เตียง
เตียงห้องพิเศษ : 24 เตียง
เตียง ICU : 8 เตียง
เตียงรอคลอด : 5 เตียง
เตียงห้องแยกโรค : 6 เตียง
ความครอบคลุมหน่วยบริการ
โรงพยาบาลชุมชน ( รพช. ) : 1 แห่ง
ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ( ศสม. ) : 1 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ( รพ.สต. ) : 21 แห่ง
อื่นๆ : -
ประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ [ ข้อมูลเดือนกันยายน ปี 2558 ]
ระดับตำบล : ตำบลกำแพง 2,189 หลังคาเรือน ประชากร 10,698 คน
ระดับอำเภอ : อำเภออุทุมพรพิสัย 19 ตำบล 19,499 หลังคาเรือน ประชากร 117,052 คน
ระดับจังหวัด : จังหวัดศรีสะเกษ ประชากร 1,445,628 คน
ระดับเขต : เขต 10 ประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ มุกดาหาร ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี มีประชากรรวม 3,982,111 คน
ลักษณะสำคัญขององค์กร
โครงสร้างการบริหารงาน
Organization Structure
โครงสร้างทีมนำและงานพัฒนาคุณภาพ

อัตรากำลังและบุคคลากร

PERSONNEL
บุคคลากรแพทย์
แพทย์ทั่วไป
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
แพทย์ทั่วไป
6
แพทย์ด้านศัลยศาสตร์
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
ศัลยศาสตร์
-
ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
-
กุมารศัลยศาสตร์
-
ศัลย์ศาสตร์ทรวงอก
-
ศัลยศาสตร์ตกแต่ง
-
ประสาทศัลยศาสตร์
-
อนุสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา
-
อนุสาขาศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ
-
อนุสาขาศัลยศาสตร์หลอดเลือด
-
อนุสาขาศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
-
แพทย์ด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
-
แพทย์ด้านอายุรศาสตร์
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
อายุรศาสตร์
1
อายุรศาสตร์โรคทรวงอก
-
โลหิตวิทยา
-
อายุรศาสตร์โรคเลือด
-
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
-
ตจวิทยา
-
ประสาทวิทยา
-
อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคไต
-
อนุสาขาโรคระบบทางเดินอาหาร
-
อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันทางคลินิก
-
อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม
-
อนุสาขาโรคข้อและรูมาติสซั่ม
-
อนุสาขาอายุศาสตร์โรคติดเชื้อ
-
อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคหัวใจ
-
อายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา
-
อนุสาขาโรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤติโรคระบบการหายใจ
-
อนุสาขาเวชบำบัดวิกฤติ
-
อนุสาขาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
-
อนุสาขาโภชนศาสตร์คลินิก
-
อนุสาขาอายุรศาสตร์ผู้สูงอายุ
-
แพทย์ด้านสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
-
อนุสาขาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์
-
อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์
-
อนุสาขามะเร็งนรีเวชวิทยา
-
อนุสาขาเวชศาสตร์เชิงกรานและศลัยกรรมซ่อมเสริม
-
แพทย์ด้านวิสัญญีวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
วิสัญญีวิทยา
-
อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่และทรวงอก
-
อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท
-
อนุสาขาการระงับปวด
-
อนุสาขาวิสัญญีสำหรับเด็ก
-
แพทย์ด้านกุมารเวชศาสตร์
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
กุมารเวชศาสตร์
3
กุมารเวชศาสตร์โรคเลือด
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคไต
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคหัวใจ
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์ประสาทวิทยา
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคระบบทางเดินอาหารและโรคตับ
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคระบบการหายใจ
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์ตจวิทยา
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดและปริกำเนิด
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน
-
อนุสาขาโลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โภชนาการ
-
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ
-
แพทย์ด้านโสต ศอ นาสิกวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
โสต ศอ นาสิกวิทยา
-
อนุสาขาศัลยศาสตร์ตกแต่งและเสริมสร้างใบหน้า
-
แพทย์ด้านจักษุวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
จักษุวิทยา
-
แพทย์ด้านจิตวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
จิตเวชศาสตร์
-
จิตเวชเด็กและวัยรุ่น
-
แพทย์ด้านรังสีวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
รังสีวิทยาทั่วไป
-
รังสีวิทยาวินิจฉัย
-
รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
-
เวชศาสตร์นิวเคลียร์
-
อนุสาขาภาพวินิจฉัยระบบประสาท
-
อนุสาขารังสีร่วมรักษาระบบประสาท
-
อนุสาขารังสีร่วมรักษาของลำตัว
-
อนุสาขาภาพวินิจฉัยขั้นสูง
-
รังสีรักษาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
-
แพทย์ด้านพยาธิวิทยา
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
พยาธิวิทยากายวิภาค
-
พยาธิวิทยาคลินิก
-
พยาธิวิทยาทั่วไป
-
นิติเวชศาสตร์
-
อนุสาขาสูตินรีเวชวิทยา
-
อนุสาขาตจพยาธิวิทยา
-
แพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
เวชศาสตร์ฟื้นฟู
-
แพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
เวชศาสตร์ครอบครัว
-
แพทย์ด้านเวชปฏิบัติทั่วไป
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
เวชปฏิบัติทั่วไป
-
แพทย์ด้านเวชศาสตร์ป้องกัน
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
แขนงอาชีวเวชศาตร์
-
แขนงสาธารณสุขศาสตร์
-
แขนงระบาดวิทยา
-
แขนงเวชศาสตร์ป้องกันคลินิก
-
แขนงสุขภาพจิตชุมชน
-
แขนงเวชศาตร์การบิน
-
แขนงเวชศาสตร์ทางทะเล
-
แขนงเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว
-
บุคคลากรด้านทันตกรรม
ทันตแพทย์ทั่วไป
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
ทันตแพทย์ทั่วไป
6
ทันตแพทย์เฉพาะทาง
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
-
ปริทันตวิทยา
-
ทันตกรรมสำหรับเด็ก
-
ทันตกรรมจัดฟัน
-
ทันตกรรมประดิษฐ์
-
ทันตสาธารณสุข
-
วิทยาเอ็นโดดอนต์
-
ทันตกรรมหัตถการ
-
ทันตกรรมทั่วไป
-
วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก
-
เจ้าหน้าที่พนักงานทันตสาธารณสุข
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
เจ้าหน้าที่พนักงานทันตสาธารณสุข
5
ผู้ช่วยทันตแพทย์
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
ผู้ช่วยทันตแพทย์
-
อื่นๆ
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
พนักงานทั่วไป
1
บุคลากรด้านเภสัชกรรม
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
เภสัชกร
9
เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
5
ผู้ช่วยเภสัชกร
2
พนักงานทั่วไป
4
บุคคลากรพยาบาล
บุคลากรด้านกายภาพบำบัด
นักกิจกรรมบำบัด
บุคลากรด้านเทคนิคการแพทย์
บุคลากรด้านรังสีการแพทย์
นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย
นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก
นักจิตวิทยา
บุคคลากรด้านแพทย์แผนไทย
แพทย์ฝังเข็ม
เจ้าหน้าที่ตรวจพิเศษ
บุคคลากรสำนักงานและอื่นๆ
บุคคลากร
จำนวน [ คน ]
งานบริหาร :
1
งานธุรการ :
งานการเงินและบัญชี :
งานพัสดุ :
งานการเจ้าหน้าที่ / งานบุคล :
งานสนาม / พนักงานทั่วไป :
งานช่างซ่อมบำรุง :
งานยานพาหนะ :
งานรักษาความปลอดภัย :
งานสิทธิบัตร / ประกันสุขภาพ :
3
งานเวชระเบียน เวชสถิติ :
7
งานสารสนเทศ / IT :
2
งานซักฟอก :
งานหน่วยจ่ายกลาง :
งานอาหาร / โรงครัว :

รางวัล เกียรติประวัติ

AWARDS
พ.ศ. 2546
  • ผ่านการรับรองคุณภาพตามกระบวนการ Hospital Accreditation : HA จาก สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2546
พ.ศ. 2547
  • ผ่านการเยี่ยมสำรวจเพื่อการเฝ้าระวัง ( Surveillance Survey ) จาก สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2547
  • ผ่านการรับรองโรงพยาบาล Healthy Thailand จาก กรมอนามัย เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2547
พ.ศ. 2548
  • รับการเยี่ยมสำรวจให้คำปรึกษาเข้ม ( ICV ) ด้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จาก สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ( องค์การมหาชน ) โดย อาจารย์แพทย์หญิงวณิช วรรณพฤกษ์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2548
  • ผลงานของผู้พิการ ได้รับรางวัลผลงาน 1 ใน 6 องค์กรดีเด่นด้านผู้พิการ ระดับประเทศ
พ.ศ. 2549
  • ผลงาน Outcome Mapping : Community Empowerment : กิจกรรมพัฒนาร้านอาหาร / แผงลอยให้ได้มาตรฐาน ตำบลกำแพง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับรางวัลระดับเขต และผลงานได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอในเวที HA Regional Forum และ HA National Forum ครั้งที่ 10 ต่อเนื่องกัน
พ.ศ. 2550
  • ผ่านการต่ออายุการรับรองคุณภาพ ( Re-Accreditation ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ครั้งที่ 1 จาก สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ( ต่ออายุถึง 12 มีนาคม 2553 )
  • ผ่านการประเมิน " โรงพยาบาลบำบัดยาเสพติด " เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2550
พ.ศ. 2551
  • ผ่านการประเมิน " โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว " ระดับ เหรียญทอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2551
  • ผู้นำสูงสุดขององค์กร น.พ. ทนง วีระแสงพงษ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย ได้รับรางวัล " ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ( ครุฑทองคำ ) " ระดับประเทศ
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 1
  • ผลงาน เรื่อง : การพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน ส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ได้รับรางวัลระดับเขตและระดับประเทศ
พ.ศ. 2552
  • ผ่านการรับรอง " โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ " จาก กรมอนามัย เมื่อ เดือนมิถุนายน 2552
  • ผ่านการรับรองคุณภาพเพื่อเฝ้าระวัง ( Surveillance Survey ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ น.พ.อรุณ เผ่าสวัสดิ์ จาก สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2552
  • ผู้นำสูงสุดขององค์กร น.พ. ทนง วีระแสงพงษ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย ได้รับรางวัล " บุคลากรทางการแพทย์ดีเด่น ( กุมารแพทย์ดีเด่น ) " เครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกฯ
  • ได้รับรางวัล " การปฏิบัติตามข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดและสารเสพติด " จาก สถาบันธัญญารักษ์ และ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ( องค์การมหาชน )
  • ผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา จาก สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2552
  • ผ่านเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ระดับ 5
  • ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ สำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ( Lab-Accreditation ) โดย สภาเทคนิคการแพทย์ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2552
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 2
  • ผลงานวิชาการ นวัตกรรม : โปรแกรมระบบบริการผู้ป่วยโรงพยาบาลเชื่อมชุมชน H.I.M. Pro. Network โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ โดย นายเอกสถิต มั่นคง ได้เผยแพร่ใช้ในจังหวัดศรีสะเกษ และในโรงพยาบาลอีกหลายแห่งทั่วประเทศ ผลงานได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอในเวที HA Regional Forum และ HA National Forum ครั้งที่ 10 และได้รับรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น ในเวทีงานวิชาการระดับกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2552
พ.ศ. 2553
  • ผ่านการรับรองคุณภาพตามโครงการ " การสร้างเสริมสุขภาพผ่านกระบวนการคุณภาพเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน : SHA " โดย พ.ญ.นันทา อ่วมกุล ผู้ทรงคุณวุฒิและคณะ จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 4
  • ผลงานวิชาการ นวัตกรรม เรื่อง : ร่วมคิดร่วมทำ น้ำมหัศจรรย์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ได้รับรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น ในเวทีงานวิชาการระดับกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2553
พ.ศ. 2554
  • ผ่านการประเมินเพื่อต่ออายุการรับรอง ( Re-Accreditation ) " โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว " ระดับทอง เมื่อ เดือนกันยายน 2554
  • ได้รับรางวัลชนะเลิศ " คุณภาพการส่งข้อมูลเรียกเก็บชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ ( Claim Award ) " ปีงบประมาณ 2554 ของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10 อุบลราชธานี ประเภทส่งข้อมูลมากกว่า 7,000 รายการต่อปี
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงานนวัตกรรม ชื่อเรื่อง : SMS Real Time vs SRRT โดย ดร.อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงานวิจัย ชื่อเรื่องภาษาไทย : ใครสุขภาพดียกมือขึ้น ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ : Who Are Healthy ? Please Show Hand โดย นางโชติรส อัครธนาโชติ
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงานนวัตกรรม ชื่อเรื่องภาษาไทย : ร่วมคิด ร่วมทำ น้ำมหัศจรรย์ กำจัดลูกน้ำยุง ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ : Effective Micro-Organisms For Killed Mosquito Larva : Community Participation ( รางวัลชนะเลิศระดับกระทรวงสาธารณสุข ) โดย นางชุติกาญจน์ มงคลชัยพาณิชย์
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงาน Narrative Medicine ชื่อเรื่อง : ปาฏิหาริย์ในธรรมะ โดย นางรัตนาภรณ์ มโนรัตน์
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงาน Narrative Medicine ชื่อเรื่อง : แด่...เธอ โดย พ.ญ.ทิพา ไกรลาส
  • ผลงานวิชาการที่นำเสนอระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ ได้รับรางวัลและตีพิมพ์ในวารสาร - ผลงาน Narrative Medicine ชื่อเรื่อง : ในทุกข์มีสุขเสมอ โดย พ.ญ.ทิพา ไกรลาส
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 3
พ.ศ. 2555
  • ผ่านการต่ออายุการรับรองคุณภาพ ( Re-Accreditation ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ครั้งที่ 2 จาก สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ( องค์การมหาชน ) เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2555 ( ต่ออายุถึง 31 สิงหาคม 2558 )
  • ลำดับที่ 1 ของจังหวัดศรีสะเกษ ด้านคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน ปี 2555
  • ลำดับที่ 2 ของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10 อุบลราชธานี ด้านคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ปี 2555
  • ได้รับรางวัล ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินดีเด่นระดับจังหวัด ประเภท : ชุดปฏิบัติการระดับสูง ALS ประจำปี 2555 จาก สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
  • งานคลินิควัยรุ่น ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานการบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนระดับประเทศ ปีงบประมาณ 2555
  • ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 ประเภท โรงพยาบาลชุมชน ในการคัดเลือกหน่วยบริการที่มีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ( ผู้ป่วยเอดส์ ) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พื้นที่บริการ เขต 10 อุบลราชธานีเมื่อ วันที่ 1 กันยายน 2555
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ( ผู้ป่วยเอดส์ ) ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จาก สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2555
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานด้านการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ HIV ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2555
  • ได้รับรางวัล ผ่านคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน ขั้นที่ 3 ปีงบประมาณ 2555 เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2555
  • ผลงาน " ระบบการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน " ได้รับคัดเลือกจาก สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ ให้เข้าร่วมแสดงผลงาน ในงานมหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2 ณ วันที่ 18-20 มกราคม 2555 ณ อิมแพคคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี
  • ผลงานวิชาการ ด้านนวตกรรม ชื่อ : เก้าอี้ให้ท่า ได้รับรางวัลรางวัลชนะเลิศ โดยการนำเสนอผลงาน ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ และ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา ระดับเขตที่ 13
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 2
พ.ศ. 2556
  • ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จาก สภาการพยาบาล เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 ( รับรองถึง 3 ตุลาคม 2559 )
  • ได้รับรางวัล โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นระดับทอง 5 ปีซ้อน จากปีงบประมาณ 2551-2555 ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค วัณโรคดื้อยา และการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรค วันที่ 23 มกราคม 2556
  • ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ผลงานวิชาการ ด้านนวตกรรม ชื่อ : ไม้ค้ำชีวา นำพาชีวิตสดใส โดยการนำเสนอ ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
  • รางวัลชนะเลิศ ผลงานวิชาการ ด้านนวัตกรรม เรื่อง : กราฟสดใสห่วงใยลูกรัก ในการประชุมวิชาการเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขด้านอนามัยแม่และเด็ก เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 10 โดย นายสมบูรณ์ แนวมั่น และ นางบงกชรัตน์ จันทร์สนิทศรี
  • ผลงานวิชาการระดับเขต เรื่อง : ระบบเฝ้าวังรายงาน 506 โรคเลปโตสไปโรซีส โดย นางชุติกาญจน์ มงคลชัยพาณิชย์
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ( ผู้ป่วยเอดส์ ) ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2556
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานด้านการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ HIV ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2556
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 2
พ.ศ. 2557
  • ผ่านการประเมินเพื่อต่ออายุการรับรอง ( Re-Accreditation ) โรงพยาบาลสายใยรักระดับทอง เมื่อ เดือนกันยายน 2557
  • ผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2557
  • ผ่านการต่ออายุการรับรอง การประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ระดับ 5
  • ได้รับการรับรอง เป็นห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่มีระบบบริหารคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ตามข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองระบบบริหารคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2557
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ( ผู้ป่วยเอดส์ ) ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2557
  • ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ประเภท : หน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานด้านการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ HIV ระดับดีเด่นและระดับยอดเยี่ยม จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2557
  • ได้รับโล่เกียรติคุณ ประเภท : โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็กดีเด่น ในโอกาสสัมมนาวิชาการเอดส์ในแม่และเด็กแห่งชาติ ครั้งที่ 1 และ ประกาศเกียรติคุณแก่หน่วยงานที่ดำเนินงานเอดส์ในอนามัยแม่และเด็กดีเด่น วันที่ 25 มิถุนายน 2557 จาก กระทรวงสาธารณสุข
  • ได้รับเกียรติบัตร ผ่านการประเมินรับรองคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2557 ระดับดีมาก จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  • ได้รับรางวัล หน่วยงานบริการดีเด่น ประจำปี 2557 ด้านการพัฒนาเครือข่ายบริการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • ได้รับรางวัล ผ่านการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ระดับ 1 ปีงบประมาณ 2557 ณ วันที่ 2 กันยายน จาก กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
  • ได้รับรางวัล ผลการประเมินการลดขั้นตอนและระยะเวลาขอรับบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กพร. ระดับดีมาก
  • ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงานต้นแบบงานเยี่ยมบ้านคุณภาพ ประจำปี 2557 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2557 จาก กระทรวงสาธารณสุข
  • ทีม SRRT อำเภออุทุมพรพิสัย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ การประกวดเครือข่ายงานเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วที่มีประสิทธิภาพ ( The Best SRRT Team ) ประจำปี 2557 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 1
  • ผลงานวิชาการ R2R เรื่อง : Lean Audit จบค้นพบความเสี่ยง ด้วย Trigger Tool ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 โดย นางบุญทิวา ไกลถิ่น
  • ผลงานวิชาการ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เรื่อง : เข้าใจ มีวินัย ไม่ดื้อยา ในโครงการอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพเครือข่ายการตรวจทางห้องปฏิบัติการ HIV ในพื้นที่บริการของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี 2557 วันที่ 12-14 พฤศจิกายน 2557 โดย นางวิมาลัย ทินนะภา
  • ผลงานวิชาการ ได้รับรางวัลชนะเลิศ เรื่อง : ต้นแบบงานเยี่ยมบ้านคุณภาพ ปี 2557 จาก สำนักการพยาบาล โดย นางมัลลิกา จงกฎ
  • ผลงานวิชาการ ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ในการประกวดผลงานวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 เรื่อง : รายงานสอบสวนโรคไข้ออกผื่น โดย นางชุติกาญจน์ มงคลชัยพาณิชย์
พ.ศ. 2558
  • ได้รับรางวัล ผลการประเมินการลดขั้นตอนและระยะเวลาขอรับบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กพร. ระดับดีมาก ปี 2558
  • ผลการจัดลำดับเครือข่ายสถานบริการสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านการประเมินผล Ranking ได้ลำดับที่ 1 ( รอบ 6 เดือนแรก เดือนเมษายน 2558 )
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561

ที่อยู่ ช่องทางการติดต่อ แผนผังโรงพยาบาล

ADDRESS AND CONTACT
ที่อยู่ ช่องทางการติดต่อ
ที่อยู่
โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย
เลขที่ 83
หมู่ 7
ถนน เพียรพจนกิจ
ตำบล กำแพง
อำเภอ อุทุมพรพิสัย
จังหวัด ศรีสะเกษ
รหัสไปรษณีย์ 33120
หมายเลขโทรศัพท์
045 691 516 ( Fax ต่อ 4306 )
045 691 517 ( ห้องอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน )
045 691 518
045 692 020 ( Fax ต่อ 4306 )
045 692 021 ( Fax ต่อ 4306 )


เหตุด่วนโทร 1669
E-Mail
LINE OFFICIAL
หมายโทรศัพท์เลขภายใน
แผนผังโรงพยาบาล

แผนที่ที่ตั้งโรงพยาบาล

MAP